วันพฤหัสบดีที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

การติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต

การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตPresentation Transcript
  • 1. การติดตอสื่อสารทางอินเทอรเน็ต ครูศิริรัตน ปานสุวรรณ โรงเรียนตราดสรรเสริญวิทยาคม
  • 2. ประวัตความเป็ นมาของระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ ต ิพืนฐานการทํางานของระบบอินเทอร์เน็ ตระบบชือโดเมน (Domain Name System)บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ ต
  • 3. ประวัตความเป็ นมาของระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ ต ิ อินเทอร์เน็ ตเกิดขึนด ้วยวัตถุประสงค์ทางการทหารและความมันคงของประเทศสหรัฐอเมริกา เมือค.ศ. ๑๙๖๙ (พ.ศ.๒๕๑๒) เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทเกิดขึนในครังแรก เรียกว่า อาร์พาเน็ ต (ARPANET: Advanced Research ีProject Agency NETwork) ปั จจุบนระบบอินเทอร์เน็ ตไม่ได ้ใช่สายโทรศัพท์เชือมต่อเพียงอย่างเดียวและไม่ได ้ใช ้กับคอมพิวเต ัอร์ เพียงอย่างเดียว แต่ยงใช ้เครือข่ายดาวเทียมและเคเบิลทีว ี ัซึงพัฒนามาเป็ นเว็บทีวทใช ้กับเครืองรับโทรศัพท์และเครืองมือสือสารอืน ๆ รวมทังการติดต่อแบบใช ้สาย ี ีและแบบไร ้สายทีมีเครือข่ายเชือมโยงทัวโลก กลับเมนูหลัก
  • 4. พืนฐานการทํางานของระบบอินเทอร์เน็ ต การสือสารทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ได ้แก่ การรับ ส่งข ้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ซึงเครืองคอมพิวเตอร์ทเชือมต่ออาจมีฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์แตกต่างกัน ีเพือให ้สามารถสือสารข ้อมูลถึงกันและแปลความหมายได ้ตรงกันจึงมีการกําหนดระเบียบวิธการติดต่อให ้ตรงกัน เรียกว่า โพรโทคอล (Protocal) ี โพรโทคอลทีนิยมใช ้ในการสือสารทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในปั จจุบน คือ ัโพรโทคอลทีซพไอพี (TCP/IP: Transmission Control Protocol/Internet Protocol) ี ี จุดเด่นของโพรโทคอลทีซพไอพี (TCP/IP) ี ี คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ทติดต่อสือสารร่วมกันจะมีหมายเลข กํากับเสมอ ี เพือระบุแหล่งทีมาของข ้อมูลต ้นทาง และนํ าข ้อมูลไปยังปลายทางได ้ถูกต ้อง ดังนันเครืองคอมพิวเตอร์ทสือสารต ้องระบุหมายเลข ี ของเครืองทีไม่ซากันไม่เช่นนันข ้อมูลอาจจะไม่ถงทีหลายปลายทางได ้ ้ํ ึ หมายเลขเครืองหรืออุปกรณ์นเรียกว่า ไอพี (IP) โดย ี เลขไอพีจะเป็ นเลขฐาน๒ ขนาด ๓๒ บิต โดยแบ่งออกเป็ น ๔ ชุด ชุดละ ๘ บิต เลขแต่ละชุดคันด ้วยจุด ดังนันเลขแต่ละชุดมีคาตังแต่ 0-255 ่ ปั จจุบนมีไอพีเวอร์ชน 4 (IPv4) ั ั สามารถใช ้อุปกรณ์เชือมต่อสือสารได ้ถึงสีพันล ้านเครืองโดยประมาณ และไอพีเวอร์ชน 6 ทีใช ้ระบบ 128 บิต ในการระบุหมายเลขไอพี ั กลับเมนูหลัก
  • 5. ระบบชือโดเมน (Domain Name System) จากการติดต่อสือสารในระบบอินเทอร์เน็ ตทีต ้องมีการอ ้างอิงหมายเลขไอพี (หมายเลขประจําเครือง) ซึงเป็ นชุดตัวเลขทีจดจําได ้ยาก เช่น 1.2.1.1 และอาจมีจํานวนมากถึงชุดละ ๓ หลัก เช่น 255.126.100.211 ซึง หากเป็ นเครืองคอมพิวเตอร์ทให ้บริการแบบเวิลด์ไวด์เว็บ (WORLD WIDE WEB) ทําให ้การจดจําทําได ้ยาก ี ดังนันในค.ศ.1984 (พ.ศ.๒๕๒๗) เริมใช ้ระบบ ดีเอ็นเอส (DNS: DOMAIN NAME SERVER) เพือทดแทนการจดจําหมายเลข ไอพี โครงสร ้างทีเป็ นข ้อตกลงเพือสามารถจดจําและจําแนกประเภทการใช ้งานของเครืองคอมพิวเตอร์นัน ๆ ได ้ ๑. หลักการตังชือโดเมน (Domain Name) มีหลักการตังชือ ดังนี - ใช ้ตัวอักษรภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ตัวเลข และเครืองหมาย - (ยัตภงค์) ได ้ ิ ั - โดยปกติจะขึนต ้นด ้วยตัวอักษร และลงท ้ายด ้วยตัวอักษร หรือตัวเลข - มีความยาวตังแต่ 1 ถึง 63 ตัวอักษร - ตัวอักษรตัวใหญ่ A-Z หรือตัวอักษรเล็ก ถือว่าเหมือนกัน - ต ้องไม่ขนต ้นหรือลงท ้ายด ้วยเครืองหมาย - และต ้องไม่มการเว ้นช่องว่าง (Space) ึ ี ๒. ประเภทของชือโดเมน แบ่งได ้ ๒ ประเภท คือ โดเมนสองระดับ และโดเมนสามระดับ ๑) โดเมนสองระดับ ประกอบด ้วย ชือโดเมน เครืองหมายจุด และลักษณะขององค์กร ทีเป็ นชือย่อของโดเมนสากล .com ย่อมาจาก Commercial สําหรับธุรกิจ .edu ย่อมาจาก Education สําหรับการศึกษา .int ย่อมาจาก International Organization สําหรับองค์กรนานาชาติ .org ย่อมาจาก Organization สําหรับหน่วยงานทีไม่แสงหากําไร .net ย่อมาจาก Network สําหรับหน่วยงานทีมีเครือข่ายเป็ นของตนเอง โดยโดเมนระดับนีจะไม่ระบุสญชาติวาเป็ นโดเมน ั ่กลับเมนูหลัก ประเทศใด ตัวอย่าง facebook.com msn.net
  • 6. ๒) โดเมนสองระดับ ประกอบดวย ชื่อโดเมน ตัวยอที่อยูหลังเครื่องหมายจุดใชระบุประเภทองคกรและตัวยอประเทศที่กอตั้ง เชน.ac.th ยอมาจาก Academin Thailand สําหรับสถานศึกษาในประเทศไทย.co.th ยอมาจาก Company Thailand สําหรับบริษัทที่ทํา ุรกิจในประเทศไ ทย ธ.go.th ยอมาจาก Goverment Thailand สําหรับหนยงานตง ๆ ของรัฐบา ว า ล.net.th ยอมาจาก Network Thailandสําหรับบริษัทที่ทําธุกิจ านเครือ  ร ด ข าย.or.th ยอมาจาก Organization Thailandสําหรับหนยงานที่ไมสวงหากํา ว แ ไร.in.th ยอมาจาก Individual Thailand สําหรับของบคลทั่วไ ป ุค โดเมนประจําสัญชาติหรือซีซีทีแอลดี (ccTLD: country code Top-Level DomainName) เปนหลักการจัดแบงตามลักษณะของขอบเขตทางภูมิศาตร หรือชื่อ ประเทศ เชน .th (ไทย) .uk (อังกฤษ) .jp (ญี่ปุน) .es (สเปน) .kr (เกาหลีใต) .fr (ฝรั่งเศส) กลับเมนูหลักตัวอยางโดเมนสามระดับ obec.go.th คือ obec คือ ชื่อสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน go คือหนวยงานรัฐบาล th คือประเทศไทย
  • 7. เราจะทราบไดอยางไรวา โดเมนของเว็บไซตมีหมายเลขไอพี (IP) เทาใด? เปดโปรแกรม cmd.exe โดยเริ่มที่ Start -> Run -> cmd กด Enter จากนั้นพิมพขอความ "ping"ตามดวยชื่อโดเมน เชน www.krupor.net แลวกด Enter กลับเมนูหลัก
  • 8. บริการต่าง ๆ ในอินเทอร์เน็ ตไดแก ๑) บริการดานการสื่อสาร ไดแก จดหมายอิเล็กทรอนิกสหรืออีเมล (e-mail/ Electronic mail) ปจจุบันไดรับความนิยมเนื่องจากรวดเร็ว ประหยัดเวลาและคาใชจาย ไมตองติดการแสตมปสามารถแนบไฟลตาง ๆ เชน ไฟลเอกสาร ไฟลรูปภาพทั้งภาพเคลื่อนไหว วิดีโอ ไฟลเสียง ไฟลเพลง บริษัทที่เปดใหบริการ ไดแก hotmail.com, yahoo.com,gmail.com โดยเปนบริการฟรี ไมเสียคาใชจายและใชไดตลอดชีพ กลับเมนูหลัก ไฟล์ (File) คือ ข ้อมูล หรือเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ในรูปดิจทล ิ ั
  • 9. ๒) รายชื่อกลุมสนทนา (mailing lists) เปนกลุมสนทนาประเภทหนึ่งบนอินเทอรเน็ตมีการติดตอสื่อสารและสงขาวสารใหกับสมาชิกตามรายชื่อและที่อยูของสมาชิก ปจจุบันมีรายชื่อกลุมสนทนาแตกตางกันตามความสนใจจํานวนมาก การเขารวมผูใชตองสมัครสมาชิกแจงความประสงคแลวสงชื่อและที่อยูเพื่อลงทะเบียนไปยังที่อยูที่บอกรับเปนสมาชิกของรายชื่อกลุมสนทนาตัวอยางรายชื่อกลุมสนทนา เชน group@domain.com,dailyjoke@ivllage.com เปนตน กลับเมนูหลัก
  • 10. กระดานขาว (Usenet) หรือเว็บบอรด (Webboard) เปนการรวบรวมของกลุมขาวที่สนใจในเรื่องเดียวกันในปจจุบันมีกลุมขาวมากมาย และหัวขอแตกตางกันไป ชื่อกลุมประกอบดวย ชื่อหัวขอกลุมขาวหลัก ชื่อกลุมขาวยอยและประเภทของกลุมขาวยอย ไดแก เว็บไซตพันธุทิพย กลับเมนูหลัก
  • 11. การสนทนาผานเครือขายอินเทอรเน็ต (On-line chat) เปนบริการที่ผูใชสามารถคุยโตตอบกับผูใชคนอื่น ๆ ไดในเวลาเดียวกันปจจุบันสามารถใชภาพกราฟก ภาพการตูนหรือภาพเคลื่อนไหวตาง ๆแทนตัวผูสนทนาได นอกจากการสนทนาแลวผูใชยังสามารถแลกเปลี่ยนขอมูลในรูปแบบตาง ๆ ไดอีกดวย การสนทนาผานเครือขายอินเทอรเน็ตผูใชตองมีโปรแกรมเพื่อใชสําหรับการสนทนา ซึ่งสามารถดาวนโหลดไดฟรีจากอินเทอรเน็ต ตัวอยางโปรแกรมสนทนาที่นิยมในปจจุบัน เชน โปรแกรมไอซีคิว (ICQ-ISeek You) โปรแกรมเพิรช (Pirch) เอ็มเอสเอ็ม เมสเซ็นเจอร (MSNMessenger) ยะฮู เมสเซ็นเจอร (Yahoo Messenger) และในปจจุบันผูใชสามารถใชสื่อประถม ทั้งเสียงพูดและภาพเคลื่อนไหวโดยใชไมโครโฟน ลําโพง กลงวิดีโอ อเพื่ออํานวยความสะดวกและเพิ่มประสิทธิภาพของการสนทนาไดียิ่งขึ้น ด กลับเมนูหลัก
  • 12. เทลเน็ต (Telnet หรือ SSH) เทลเน็ตเปนเครื่องมือพื้นฐานที่ใชติดตอเครื่องบริหารหรือเครื่องแมขาย (Server) เพื่อเขาควบคุมการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องอื่น ๆ ปด-เปดเครื่อง บริการรับ-สงอีเมลใชพัฒนาโปรแกรม ตรวจสอบผูใช สามารถแกปญหาเครื่องลูกขายในระยไกลผานเครือขายอินเทอรเน็ต เปนตน โปรแกรมนี้มีมาพรอมกับการติดตั้งโพรโตคอลทีซีพีไอพี(TCP/IP) ผูใชสามารถเรียนใชจาก c:windowstelnet.exeแตเปนการใชงานแบบเท็กซโหมด (Text Mode)ที่ผูใชตองเรียนรูคําสั่งให ใจกนใชา เข อ ง า น กลับเมนูหลัก
  • 13. บริการโทรศัพทจากคอมพิวเตอรไปยังเครื่องรับโทรศัพท เชน สไกป (Skype) เน็ตทูโฟน (Net2Phone) แคตเทเลคอม (Cattelecom)เปนการสื่อสารโดยการสนทนาผานตัวอักษรโตตอบกันไดแบบทันทีเหมือนโปรแกรมเอ็มเอสเอ็น (msn) ยะฮู (yahoo) ไอซีคิว (icq) จุดเดนของสไกปคือใชงานเปนโทรศัพทโทรติดตอผูอื่นที่ไมไดใชสไกปหรืออินเทอรเน็ตโทรไดทั้งหมายเลขเคลื่อนที่และหมายพื้นฐานทั่วไปโดยเสียคาใชจายแบบเหมาจายตํ่ากวคโทรศัพทปกติ และสขความสั้น SMS) าา งอ (ไดทั่วโลกในราคาถูก สงโทรสาร (FAX) หรือการพูดคุยกลุม สนทนาหรือประชุมทางไกลพรอมกันไดหลายคน ภาพและเสียงชัดเจนที่มาภาพสวย : http://camera-club-it.blogspot.com/2012/01/skype.htmlhttp://www.niibook.com/?p=521http://www.techxcite.com/topic/2827.html กลับเมนูหลัก
  • 14. ๒. บริการดานขอมูล๒.๑ การโอนยายขอมูล หรือเอฟทีพี (FTP: File Transfer Protocol)๒.๒ เวิลดไวดเว็บ (www : World Wide Web)๒.๓ การคนหาขอมูล (Search Engine)ที่มาภาพ : http://docs.oracle.com/cd/E19509-01/821-0021/fbindftpctut_intro/index.htmlhttp://www.studychannels.com/%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B9%87%E0%B8%9A%E0%B9%84%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%8A/http://www.studychannels.com/%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B9%87%E0%B8%9A%E0%B9% หลัก กลับเมนู84%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%8A/
  • 15. การเชื่อมตออินเทอรเน็ตมี ๒ รูปแบบ ดังนี้๑. การเชื่อมตอแบบใชสายสัญญาณ (Wire Internet) ๒. การเชื่อมตอแบบไรสาย (Wireless Internet)ทีมาภาพ : http://student-bank.blogspot.com/http://flatclassroom09-3.flatclassroomproject.org/Wireless+Connectivity กลับเมนูหลัก
  • 16. การใชบริการสื่อสารทางอินเทอรเน็ตแบบเครือขายสังคม (Social Network)๑. เฟสบุก (facebook)๒. วิกิพีเดีย (Wikipedia)๓. ทวิตเตอร (twitter)๔. ยูทูป (youtube)๕. เว็บบล็อก (webblog)ที่มาภาพ : http://talk.mthai.com/topic/345308http://blog.macroart.net/2008/08/knowledge-sharing-wikipedia-yahoo-answers-google-knol.htmlhttp://www.marketingoops.com/digital/social-media/twitter-social-media/twitter-user/ กลับเมนูหลักhttp://kansine53040655.blogspot.com/2011/02/webblog.html
  • 17. The End...See You Next time... <3 <3 กลับเมนูหลัก
  • ตัวอย่างการติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต
  • โดยผ่านทางสังคมออนไลน์
  • เช่น การสมัครอีเมล
  • เช่น การสมัครอีเมล
  • คำอธิบายในเเต่ละช่องที่ใช้กรอก

  • ช่อง Username : ตรงนี้ต้องเป็นภาษาอังกฤษ ไม่จำเป็นต้องเหมือนกับลิงค์ของอัลบัม เช่น ลิงค์อัลบัมคือ http://album.teenee.com/teenee แต่ username อาจตั้งเป็น iamstaff ก็ได้ขอให้เป็นภาษาอังกฤษพอ อย่าลืมกด check ดูด้วยนะครับ ว่าusernameที่จะใช้มีคนใช้ไปแล้วหรือยัง

    ช่อง Password และ Re-password : ตรงนี้เป็นรหัสลับ ใช้เป็นอังกฤษหรือตัวเลขก็ได้ แต่ทั้ง2ช่องต้องเหมือนกัน

    ช่อง URL : ตรงนี้สำคัญครับ ดูว่าเราอยากได้ชื่อลิงค์อัลบัมของเราว่าอย่างไร ให้กรอกเป็นอังกฤษเท่านั้น แล้วกดปุ่ม checkด้วยครับ ว่ามีคนใช้ไปแล้วหรือยัง เช่นกรอกว่า teenee ลิงค์อัลบัมที่ได้ก็จะเป็น http://album.teenee.com/teenee หรือกรอกว่า mydog ลิงค์ก็จะเป็น http://album.teenee.com/mydog

    ช่อง Email : และ Re-Email ตรงนี้สำคัญครับ ให้กรอกให้เหมือนกันทั้งคู่ และให้ระวังผิดเพราะว่า ลิงค์ยืนยันการสมัครใช้งานจะถูกส่งหาเมล์ของคุณ และคุณต้องเปิดเมล์ และคลิ๊กลิงค์ในนั้น

    ที่เหลือก็แค่กรอกให้ครบแล้ว กดปุ่ม submit แล้วเข้าไปเช็คอีเมล์ของคุณได้เลยครับ อ่านอีเมล์แล้วคลิ๊กยืนยันการสมัครสมาชิก พบปัญหาใดๆติดต่อทีมงานได้ที่อีเมล์ด้านล่างนี้ครับ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น